แขนกั้นรถ หรือ ไม้กั้นรถ มีการทำงานที่มีระบบอัตโนมัติที่สำคัญอยู่หนึ่งอย่าง โดยแต่ละแบบจะต้องมีอุปกรณ์เสริมที่เป็นอุปกรณ์ที่ป้องกันไม้กั้นรถหล่นใส่รถนั่นเอง โดยในปัจจุบันมีด้วยกันอยู่ 2 แบบ คือ Infrared sensor และLoop Detector ที่มีความสามารถแตกต่างกัน แต่ต้องนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากัน เพราะถือเป็นการทำงานที่สำคัญในเรื่องของความปลอดภัยเป็นหลัก ซึ่งสาเหตุไม้กั้นรถหล่นใส่รถนั้น อาจจะเป็นเพราะระบบเซ็นเซอร์ที่มีไว้ตรวจจับรถที่อยู่ภายใต้ไม้กั้นนั้น ชำรุดเสียหายหรือไม่ได้ติดตั้ง ซึ่งอุปกรณ์ตัวนี้มีชื่อเรียกว่า Loop Detector นั่นเอง โดย Loop Detector จะประกอบอยู่ในชุดของระบบไม้กั้นอยู่แล้ว และมีการติดตั้งInfrared sensor ตามมา
Loop Detector
เป็นสายลูปที่ฝังอยู่ในพื้นถนนบริเวณไม้กั้น ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการตรวจจับโลหะที่เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ใกล้ในระยะตรวจจับ หรือ อยู่บนตัว Loop สิ่งที่ตัวจับได้คือรถยนต์ ไม่สามารถตรวจจับคนได้ หลักการทำงานคือเมื่อรถอยู่บน Loop จะทำให้สายลูปนั้นมีกระแสไฟเพิ่มขึ้น จึงรู้ได้ว่ามีวัตถุอยู่ใต้ไม้กั้น ไม้กั้นนั้นก็จะยกไว้ อาศัยหลักการทำงานเดียวกันกับ พรอซิมิตี้สวิทช์ (Proximity switch) กล่าวคือ เมื่อมีวัตถุที่ทำด้วยโลหะเคลื่อนตัวมาอยู่ใกล้ระยะตรวจจับ โดยทั่วๆไปจะอยู่ระหว่าง 4 – 40 เมตร ซึ่งขึ้นกับขนาดและชนิดของเซนเซอร์ จะทำงานโดยการเหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กให้เคลื่อนที่
มีลักษณะที่เป็นสายลูปฝังลงไปบนพื้นถนนลึกลงไปเพียงเล็กน้อย การทำงานคือเมื่อมีรถมาทับบนสายลูปกระแสไฟจะเพิ่มขึ้นแล้ว จะสั่งกานไปที่ไม้กั้นให้ไม้กั้นเปิดค้างไว้นั่นเอง โดยส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้เป็น loop detector มากกว่าแบบ Infrared เพราะมีโอกาสเสียน้อยกว่า อาจจะติดตั้งยากหน่อย แต่ก็สามารถดูแลรักษาได้ง่ายกว่า
หลักการทำงานของ Loop Detector คือ เมื่อมีรถยนต์ หรือ วัตถุที่เป็นโลหะอยู่บนสายลูปนั้น หรือ อยู่ในระยะใกล้ที่สายลูปจะรับได้ จะทำให้กระแสไฟที่อยู่ภายในสายลูปนั้นเพิ่มมาก ซึ่งนั่นจะทำให้ระบบรู้ว่ายังมีรถยนต์อยู่ในบริเวณนั้น และตัว Loop Detector ก็จะส่งคำสั่งไปที่แขนกั้นรถ ให้ไม้กั้นยังคงทำงานยกค้างไว้ ไม่ให้หล่นลงมาตีเข้ากับรถยนต์
ข้อจำกัดของตัว Loop Detector นั้นคือ สามารถตรวจจับรถยนต์ได้ แต่จะไม่ตัวจับคน และตัว Loop นั้นจะติดตั้งค่อนข้างยาก แต่ก็มีโอกาสเสียยากกว่าแบบ Infrared Sensor และดูแลรักษาได้ง่ายกว่าด้วย
Infrared sensor
โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นแท่งสีส้มกลมๆมนๆ ที่หัวเสาจะมีตัวอินฟราเรดอยู่ มีหน้าที่ในการ ตรวจจับคน รถ หรือสิ่งของ ด้วยการตัดแสง หากมีการตัดแสง ไม้จะยังคงค้างอยู่ไม่หล่นลงมา ถือเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันมากที่สุดสำหรับการตรวจจับการเคลื่อนไหว และมีแสงสีแดงที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หากต้องการจะดู หรือ อยากจะมองเห็นจะต้องมีเครื่องรับ – ส่งที่สามารถถอดรหัสได้ โดยต้องมีตัวรับส่งสัญญาณ จากจะเครื่องตะทำการประมวลผลต่าง ๆ ตามที่ได้ตั้งค่าไว้ สำหรับการใช้ Infrared sensor กับไม้กั้นรถนั้น ก็มีหลักการทำงานเดียวกัน ซึ่ง Infrared sensor นี้จะเป็นตัวตรวจจับรถ คน หรือสิ่งของได้ ผ่านการตัดแสง Infrared ของวัตถุนั้น ๆ เมื่อมีวัตถุมาตัดผ่านแสง Infrared แขนกั้นรถก็จะยังคงเปิดค้างอยู่ เพื่อทำงานต่อไป
เซ็นเซอร์จับความเคลื่อนไหวและเครื่องตรวจจับการเคลื่อนไหว
ตรวจจับการเคลื่อนไหวเป็นประเภทใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดของเซ็นเซอร์อัตโนมัติและถูกนำมาใช้อย่างเท่าเทียมกันในอุตสาหกรรมและการค้า wattstopper-motion-sensorการใช้งาน. เหตุผลสำหรับการใช้งานที่กว้างเป็นว่าเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของการอนุรักษ์พลังงานในเชิงพาณิชย์, งานที่อยู่อาศัยและอุตสาหกรรมและการติดตั้งง่ายมากพอที่จะดำเนินการโดยช่างปกติ. เหล่านี้เป็นที่รู้จักกันเป็นเซ็นเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนไหว. เซ็นเซอร์ดังกล่าวยังเป็นส่วนหนึ่งของระบบอัตโนมัติและระบบสำนักงานอัตโนมัติซึ่งสามารถรวมเข้ากับระบบทั้งหมดหรือแต่ละหน่วยหรือส่วนของห้องพัก, ฯลฯ ทางเดิน. ตามความต้องการของลูกค้า. เหล่านี้มีอยู่ในรุ่นล่าสุดโปรโตคอลอัตโนมัติเช่น KNX, Bacnet ฯลฯ. สำหรับการบูรณาการเข้าสู่ระบบการจัดการอาคารทั้งหมด. เซ็นเซอร์อัลตราโซนิกและเซ็นเซอร์อินฟาเรด
การติดตามเป้าหมาย (Target Tracking)
ถึงแม้ว่าระบบของจรวดนำวิถีด้วย IRประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ ได้แก่ Optic หรือ IR Dome, IR Guidance Processor หรือ Guidance Control Group, Fuse หรือ Target Detecting Device, Warhead หรือ Payload, Rocket Motor รวมถึง Airframe และ Control Surface ได้แก่ Body, Fins และ Wings แต่ส่วนที่สำคัญและซับซ้อนที่สุด คือ ชุดนำวิถีและควบคุม (Guidance and Control Section)
ชุดค้นหาคลื่นอินฟราเรด (An Infrared Seeker Assembly) ทำหน้าที่ตรวจจับเป้าหมาย
ชุดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (An Electronic Assembly) ทำหน้าที่เปลี่ยนข้อมูลและตำแหน่งเป้าหมายให้เป็นสัญญาณการติดตามและนำวิถีของจรวด
ชุดแก๊สควบคุม (A Gas Servo Assembly) ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นการทำงานทางกลศาสตร์ผ่านพื้นบังคับของจรวด